บันทึกอนุทิน
Inclusive Education Experiences Management for Early Childhood
วันอังคารที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2558
ครั้งที่ 17 เวลาเรียน 09.00-12.40 น
การเขียนแผน IEP
•คัดแยกเด็กพิเศษ
•ครูต้องรู้ว่าเด็กมีปัญหาอะไร
•ประเมินพัฒนาการเด็กเป็นระยะ จะทำให้ทราบว่าจะต้องเริ่มช่วยเหลือเด็กจากจุดไหน ในทักษะใด
•เด็กสามารถทำอะไรได้ / เด็กไม่สามารถทำอะไรได้
•ครูต้องรู้ว่าเด็กมีปัญหาอะไร
•ประเมินพัฒนาการเด็กเป็นระยะ จะทำให้ทราบว่าจะต้องเริ่มช่วยเหลือเด็กจากจุดไหน ในทักษะใด
•เด็กสามารถทำอะไรได้ / เด็กไม่สามารถทำอะไรได้
•แล้วจึงเริ่มเขียนแผน IEP
IEP ประกอบด้วย
•ข้อมูลส่วนตัวของเด็ก
•ระบุว่าเด็กมีความจำเป็นต้องได้รับบริการพิเศษอะไรบ้าง
•การระบุความสามารถของเด็กในขณะปัจจุบัน
•เป้าหมายระยะยาวประจำปี / ระยะสั้น
•ระบุวัน เดือน ปี ที่เริ่มทำการสอน และคาดคะเนการสิ้นสุดของแผน
•วิธีการประเมินผล
ขั้นตอนการจัดทำแผนการศึกษารายบุคคล
•ระบุว่าเด็กมีความจำเป็นต้องได้รับบริการพิเศษอะไรบ้าง
•การระบุความสามารถของเด็กในขณะปัจจุบัน
•เป้าหมายระยะยาวประจำปี / ระยะสั้น
•ระบุวัน เดือน ปี ที่เริ่มทำการสอน และคาดคะเนการสิ้นสุดของแผน
•วิธีการประเมินผล
ขั้นตอนการจัดทำแผนการศึกษารายบุคคล
2. การจัดทำแผน โดยจะต้องมีการประชุมผู้ที่เกี่ยวข้อง กำหนดจุดมุ่งหมายระยะยาวและระยะสั้น กำหนดโปรแกรมและกิจกรรม และจะต้องได้รับการรับรองแผนการศึกษาเฉพาะบุคคลจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดจุดมุ่งหมาย
จุดมุ่งหมายระยะยาว (กำหนดให้ชัดเจน แม้จะกว้าง) เช่น
- น้องนุ่นช่วยเหลือตนเองได้
- น้องดาวร่วมมือกับผู้อื่นได้ดีขึ้น
- น้องริวเข้ากับเพื่อนคนอื่นๆได้
- น้องนุ่นช่วยเหลือตนเองได้
- น้องดาวร่วมมือกับผู้อื่นได้ดีขึ้น
- น้องริวเข้ากับเพื่อนคนอื่นๆได้
จุดมุ่งหมายระยะสั้น (ตั้งให้อยู่ภายใต้จุดมุ่งหมายหลัก)
- จะสอนใคร
- พฤติกรรมอะไร
- เมื่อไหร่ ที่ไหน (ที่พฤติกรรมนั้นจะเกิด)
- พฤติกรรมนั้นต้องดีขนาดไหน
3. การใช้แผน- จะสอนใคร
- พฤติกรรมอะไร
- เมื่อไหร่ ที่ไหน (ที่พฤติกรรมนั้นจะเกิด)
- พฤติกรรมนั้นต้องดีขนาดไหน
•เมื่อแผนเสร็จสมบูรณ์ ครูจะนำไปใช้โดยจะใช้แผนระยะสั้น
•นำมาทำเป็นจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
•แยกย่อยขั้นตอนการสอนให้เหมาะกับเด็ก
•จัดเตรียมสื่อและจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
•นำมาทำเป็นจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
•แยกย่อยขั้นตอนการสอนให้เหมาะกับเด็ก
•จัดเตรียมสื่อและจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
4. การประเมินผล
•โดยทั่วไปจะประเมินภาคเรียนละครั้ง หรือย่อยกว่านั้น
•ควรมีการกำหนดวิธีการประเมิน และเกณฑ์วัดผล
** การประเมินในแต่ละทักษะหรือแต่ละกิจกรรม อาจใช้วิธีวัดและกำหนดเกณฑ์แตกต่างกัน**
•ควรมีการกำหนดวิธีการประเมิน และเกณฑ์วัดผล
** การประเมินในแต่ละทักษะหรือแต่ละกิจกรรม อาจใช้วิธีวัดและกำหนดเกณฑ์แตกต่างกัน**
ตัวอย่างแผน IEP |
กิจกรรมสอบร้องเพลง : โดยดิฉันจับได้เพลง นกเขาขัน ลงฟังกันดูนะค่ะ (ขอขอบคุณทุกคำติชมค่ะ)
การประเมินผล :
- ตนเอง : วันนี้มีความมั่นใจในการร้องเพลงดี เนื่องจากได้มีการฝึกร้องตั้งแต่เมื่อวานจึงส่งผลให้การสอบร้องเพลงในวันนี้ผ่านพ้นไปได้ด้วยดี ส่วนในเรื่องการเขียนแผน IEP ก็สามารถเรียนรู้และเข้าใจได้ง่ายถือว่าการเรียนในวันนี้บรรลุวัตถุประสงค์ในการเรียนค่ะ
- เพื่อน : ทุกคนมีบุคคลิกที่แตกต่าง จุดเด่น จุดอ่อนที่ต่างกันไปแต่พอพวกเรามาเรียนรวมกันถือว่าลงตัวค่ะ
- อาจารย์ : หลังจากที่ได้เรียนวิชาการศึกษาแบบเรียนรวมกับอาจารย์เบียร์มาเป็นเวลา 1 เทอมซึ่งเวลาช่างผ่านไปอย่างรวดเร็วความรู้หนูได้รับจากอาจารย์มากมายเกินจะบรรยายแต่สิ่งที่หนูประทับใจในตัวอาจารย์คือประสบการณ์ดีๆที่อาจจารยืค่อยแนะนำ และอาจารย์ไม่เคยทิ้งพวกเราเลยไม่ว่าจะมีเรื่องหรือปัญหาอะไรอาจารย์จะค่อยให้คำแนะนำและช่วยเหลือเสมอ อาจารย์ถือเป็นบุคคลที่สำคัญสำหรับสาขาการศึกษาปฐมวัยคนหนึ่ง และเป็นตัวอย่างที่ดีสำหรับพวกหนูเสมอค่ะ
ตรวจแล้วครับ
ตอบลบ